บริษัทมีการประเมินและทบทวนประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน (Materiality) เพื่อนำมาวิเคราะห์ความเกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจของบริษัท โดยมีขั้นตอนการประเมินประเด็นสำคัญ เพื่อสนับสนุนกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals : SDGs) ให้ครอบคลุมทั้ง 3 มิติ ได้แก่ มิติสิ่งแวดล้อม (Environment) มิติสังคม (Social) และมิติบรรษัทภิบาลและเศรษฐกิจ (Governance & Economic)
กระบวนการประเมินประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน
การระบุประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนเบื้องต้น
การประเมินประเด็นสำคัญภายใต้หลักการ “DOUBLE MATERIALITY”
บริษัทได้เล็งเห็นความสำคัญในการพิจารณาประเด็นสำคัญในการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนจากมุมมองทั้งสองทิศทางในการดำเนินธุรกิจ
-
ผลกระทบจากมุมมองภายนอก (Outside-In) : ประเด็นที่สำคัญสำหรับสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งอาจเกิดจากกิจกรรมหรือการดำเนินธุรกิจของบริษัทที่สุดท้ายอาจส่งผลย้อนกลับมายังบริษัทได้
-
ผลกระทบจากมุมมองภายใน (Inside-Out) : ประเด็นที่สำคัญสำหรับบริษัท โดยพิจารณาความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อด้านการเงินของบริษัท ซึ่งมีผลต่อความสำเร็จและความยั่งยืนของธุรกิจ
กระบวนการพิจารณาผลกระทบทั้งสองด้านนี้สามารถช่วยให้บริษัทเข้าใจและจัดการกับความสำคัญของประเด็นที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจของบริษัทอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ในทางปฏิบัติ “Double Materiality” ช่วยให้บริษัทรับผิดชอบต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสามารถขับเคลื่อนธุรกิจสู่ความสำเร็จในระยะยาวได้
ตารางแสดงระดับผลกระทบในแต่ละประเด็นด้านความยั่งยืนขององค์กร
ระดับผลกระทบ
|
ประเด็นสำคัญ
|
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development Goals : SDGs) |
ประเด็นสร้างคุณค่า |
สุขภาพและความปลอดภัย | |
การพัฒนาศักยภาพและดูแลบุคลากร | ||
การบริการจัดการพลังงาน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
||
ความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ และความเป็นส่วนตัวของข้อมูล |
||
ประเด็นส่งเสริม |
การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม | |
ประเด็นที่มีความจำเป็น |
การกำกับดูแลกิจการที่ดี | |
การพัฒนานวัตกรรม | ||
การบริการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า | ||
การดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และชุมชนสัมพันธ์ |
||
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน | ||
ประเด็นพื้นฐานในการดำเนินธุรกิจ |
การบริหารจัดการความเสี่ยง |
|
ความหลากหลายชีวภาพ | ||
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย | ||
การเคารพสิทธิมนุษยชน |
ศูนย์บริการข้อมูลรถไฟฟ้า MRT
วันจันทร์-ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 07.00-20.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา 08.00-17.00 น.
BEM
- รู้จัก BEM
- เกี่ยวกับเรา
- เหตุการณ์สำคัญ
- ข้อมูลพื้นฐาน BEM
- ลักษณะการประกอบธุรกิจ
- สารจากประธานกรรมการบริษัท
- โครงสร้างองค์กร
- คณะกรรมการบริษัท
- คณะกรรมการตรวจสอบ
- คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน
- คณะกรรมการบรรษัทภิบาล บริหารความเสี่ยง และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
- คณะกรรมการบริหาร
- คณะผู้บริหาร
- การกํากับดูแลกิจการ
- คู่มือบรรษัทภิบาล
- วิสัยทัศน์และพันธกิจ
- เป้าหมายและกลยุทธ์ธุรกิจ
- นโยบายบริษัท
- กฎบัตรคณะกรรมการ
- ข้อบังคับบริษัท
- จรรยาบรรณบริษัท
- จรรยาบรรณนักลงทุนสัมพันธ์
- จรรยาบรรณธุรกิจสำหรับคู่ค้า
- ติดต่อเลขานุการบริษัท
- ศูนย์ข้อมูลส่วนบุคคล
- การแจ้งเตือนให้นําข้อมูลคอมพิวเตอร์ออกจากระบบ
- การพัฒนาอย่างยั่งยืน
ข่าวประชาสัมพันธ์
ร่วมธุรกิจกับ BEM
- พัฒนาเชิงพาณิชย์
- จัดซื้อจัดจ้าง
ร่วมงานกับ BEM
- ร่วมงานกับ BEM
สงวนลิขสิทธิ์ © พ.ศ.2561 บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
Member of , APTA and COMET
BANGKOK MRT
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
ตอบรับไลฟ์สไตล์คนเมืองด้วยแอปพลิเคชัน Bangkok MRT ทำให้วางแผนการเดินทางเป็นเรื่องง่ายแค่ปลายนิ้วสำหรับคุณ มีครบทั้งข้อมูลรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินและสายสีม่วง เช่น แผนที่เส้นทางรถไฟฟ้า แผนผังบริเวณสถานี สิ่งอำนวยความสะดวก ข่าวสารและกิจกรรม พร้อมทั้งฟังก์ชันต่างๆ ให้คุณเลือกใช้อีกเพียบ...